“หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567)”

“หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567)”

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย

ภาษาอังกฤษ

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม

ชื่อย่อ

ชื่อเต็ม

ชื่อย่อ

ชื่อหลักสูตร

ภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม

ชื่อย่อ

ชื่อเต็ม

ชื่อย่อ

รูปแบบของหลักสูตร : หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ตามพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 และมาตรฐานการอุดมศึกษา 2561
ภาษาที่ใช้ : ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
การรับเข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ

ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติเห็นชอบหลักสูตร

หลักสูตรใหม่ กำหนดเปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567 เดือนสิงหาคม – ธันวาคม 2567 และภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – พฤษภาคม 2568

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)

  1. บุคลากรวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ 
  2. นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ในหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน 
  3. นวัตกรด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ 
  4. บุคลากรทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ 
  5. เจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการด้านการแพทย์ เช่น บริษัทยา เวชภัณฑ์ และเครื่องมือ 
    ทางการแพทย์ ห้องปฏิบัติการวินิจฉัยทางการแพทย์  
  1. หน่วยงานของรัฐ เช่น กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขหรือสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) องค์การเภสัชกรรม
  2. สถาบันวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิเพื่อสถาบันอาหาร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สถาบันวิจัยมะเร็งแห่งชาติ เป็นต้น
  3. บริษัทเอกชน ด้านการผลิตยา วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ เช่น โรงงานผลิต 
เภสัชภัณฑ์ในพระดำริโรงงานยา บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด บริษัทเครือเบทาโกร จำกัด บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ศูนย์ปฏิบัติวินิจฉัยเฉพาะทางด้านการแพทย์
  4. หน่วยงานภาคการศึกษา เช่น โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือโรงเรียน ทั้งภาครัฐและเอกชน
  5. หน่วยงานอื่น ๆ ที่ต้องใช้นักวิจัย หรือผู้ช่วยวิจัย หรือเจ้าหน้าที่วิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์

ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร 

หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะการวิจัยทางวิทยาศาสตร์อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต และ 
จิตสาธารณะ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์ที่เป็นเลิศเพื่อทุกชีวิต

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 

เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 

01

มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยี 

03

มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 

02

มีทักษะการวิจัยและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 

04

มีคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ เป็นผู้นำและผู้ตาม และมีความยึดมั่นผูกพันกับองค์กร 

ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร 

หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะการวิจัยทางวิทยาศาสตร์อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต และ 
จิตสาธารณะ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์ที่เป็นเลิศเพื่อทุกชีวิต

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 

เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 

01

มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยี 

02

มีทักษะการวิจัยและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 

03

มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 

04

มีคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ เป็นผู้นำและผู้ตาม และมีความยึดมั่นผูกพันกับองค์กร 

PLO1

ประยุกต์ทฤษฎี ความรู้ และหลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์

PLO2

ปฏิบัติการวิจัยตามระเบียบวิธีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และหลักจรรยาบรรณการวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์

PLO3

สื่อสารองค์ความรู้พื้นฐานและนวัตกรรมทางการแพทย์ในบริบททางสังคมวิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

PLO4

แสวงหาความรู้และเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

PLO5

ทำงานร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม มีจิตสาธารณะ และ 
มีความยึดมั่นผูกพันกับองค์กร

       ระบบการจัดการศึกษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ใช้ระบบทวิภาค ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา โดย ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษา หนึ่งภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์

 วัน – เวลา ในการดำเนินการเรียนการสอน 

วิชาภาคทฤษฎี จัดการเรียนการสอนในวันราชการ ระหว่างเวลา
08.00 – 17.00 น. 
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม – ธันวาคม ของปี และภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – พฤษภาคม ของปี 
ระยะเวลาการศึกษา ใช้เวลาการศึกษา ปี ไม่เกิน ปีการศึกษา 

จำนวนรวมหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 124 หน่วยกิต

โดยนักศึกษาต้องเรียนรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปครบทั้ง ส่วน ดังนี้

  1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต 
    1.1 วิชาบังคับ 14 หน่วยกิต  
    1.2 วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต 
  2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต   
    2.1 วิชาพื้นฐาน 19 หน่วยกิต
    2.2 วิชาเอก 51 หน่วยกิต
    2.3 วิชาเฉพาะเลือก ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต 
  3. หมวดวิชาเลือกเสรี  ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต